Bond Blogs
“สมาคมตลาดตราสารหนี้ไทย” หรือ “ThaiBond Market Association” เรียกย่อๆ ว่าThaiBMAนักลงทุนน่าจะเคยผ่านหูผ่านตาชื่อนี้กันมาบ้าง แต่เชื่อว่าหลายๆ ท่านยังงงๆ ว่าThaiBMA เป็นหน่วยงานประเภทไหน มีหน้าที่เกี่ยวกับอะไร วันนี้เราขอแนะนำตัวกันอีกสักที
ThaiBMAจัดตั้งขึ้นมาตั้งแต่ปี 2537 จนถึงปัจจุบันก็มีอายุ 23 ปีแล้ว โดยมีวัตถุประสงค์หลักที่ได้รับมอบหมายจากสำนักงาน ก.ล.ต. ให้กำกับดูแลสมาชิกในการประกอบธุรกรรมการค้าตราสารหนี้ ทั้งนี้บทบาทหน้าที่ของ ThaiBMA ได้มีการปรับให้สอดคล้องกับพัฒนาการของตลาดตราสารหนี้ที่ผ่านมา จนในปัจจุบัน เรามีบทบาทหน้าที่หลัก 5 ด้านด้วยกันตรงกับ 5 กลีบของดอกไม้ที่เป็นโลโก้ของเรา
1) การเป็นองค์กรกำกับดูแลตนเอง หรือ Self-Regulatory Organization (SRO) ทำหน้าที่กำกับดูแลสมาชิกเพื่อให้การประกอบธุรกรรมการค้าตราสารหนี้เป็นไปอย่างโปร่งใสเป็นธรรม และสร้างความเชื่อมั่นให้แก่นักลงทุน ด้วยการกำหนดกฎระเบียบ จรรยาบรรณมาตรฐานการปฏิบัติในตลาดรองตราสารหนี้ รวมถึงการตรวจสอบพิจารณาความผิดและกำหนดบทลงโทษผู้ค้าตราสารหนี้ที่ไม่ปฏิบัติตามกฎเกณฑ์ที่เกี่ยวข้องให้ไม่เกิดการเอาเปรียบกันภายในตลาด หรือการกระทำที่ไม่เป็นธรรมต่อลูกค้า
2) การกำหนดวิธีปฏิบัติและมาตรฐานต่างๆของตลาดตราสารหนี้ (Market Convention and Standard)เพื่อให้สมาชิกและทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้องดำเนินธุรกรรมโดยมีมาตรฐานเดียวกัน เช่น การกำหนดสัญลักษณ์มาตรฐานให้รู้ถึงวันครบกำหนดของตราสารหนี้นั้นๆ การกำหนดมาตรฐานการคำนวณราคาตราสารหนี้ประเภทต่างๆเพื่อให้ผู้ร่วมตลาดได้รับราคาที่ยุติธรรมที่สุด รวมถึงการกำหนดมาตรฐานด้านงานทะเบียนตราสารหนี้
3) การให้บริการและเป็นศูนย์กลางข้อมูลในตลาดตราสารหนี้ (Bond Information and Service Center)ในการรวบรวมและเผยแพร่ข้อมูลต่างๆของตราสารหนี้ทั้งภาครัฐและเอกชน ประกอบด้วยข้อมูลการซื้อขายในตลาดรอง ข้อมูลพื้นฐานของตราสารหนี้แต่ละรุ่น (Bond Features) ข้อมูลราคาอ้างอิงต่างๆ (Reference yield) ตลอดจนข่าวสารต่างๆที่เกี่ยวข้องกับการลงทุนผ่านทาง www.thaibma.or.th และ Fanpage Facebook ThaiBMA
4) จัดทำและเผยแพร่ราคาอ้างอิงตราสารหนี้(Bond Pricing Agency)บทบาทการให้บริการด้านข้อมูลที่สำคัญอีกประการหนึ่ง คือ การทำหน้าที่ “Bond Pricing Agency”เพื่อเผยแพร่ราคาอ้างอิงสำหรับการ mark-to-market ของผู้ลงทุนโดยเฉพาะกองทุนรวมต่างๆ ทั้งนี้ เพื่อกำหนดราคายุติธรรมสำหรับตราสารหนี้
5) การพัฒนาตลาดตราสารหนี้และส่งเสริมผู้ร่วมตลาด (Market Development and Trade Association)มีบทบาทในการขับเคลื่อนการพัฒนาตลาดตราสารหนี้ในมิติต่างๆรวมถึงการพัฒนาเครื่องมือและโครงสร้างพื้นฐานเพื่อส่งเสริมการซื้อขายและการลงทุนในตราสารหนี้อาทิการพัฒนา Yield curveและ Credit spread curveให้มีความเชื่อถือได้ รวมถึงการจัดอบรม การให้ความรู้ ความเข้าใจด้านการลงทุนในตราสารหนี้แก่นักลงทุนรายย่อย นักลงทุนสถาบัน องค์กรภาครัฐและเอกชน นักศึกษา และบุคคลทั่วไป
นี่จึงเป็นสาเหตุที่มาของบทความดีๆ ด้านการลงทุนตราสารหนี้ที่ ThaiBMAตั้งใจจัดทำและเผยแพร่ต่อสาธารณะผ่านสื่อในช่องทางต่าง ๆ เพื่อความมั่งคั่งและมั่นคงของนักลงทุน มาเรียนรู้การเป็น Smart Investor กับThaiBMA กัน
All Blogs
- สาระสำคัญจากงานสัมมนา “Enable ESG Bond Issuance: Global Dynamic & Thailand Framework Development”
- การถือครองตราสารหนี้ไทยของนักลงทุนต่างชาติ
- Facts: หุ้นกู้ครบกำหนดในปีหน้า (2024)
- Par Value คืออะไร
- พัฒนาการของตลาด ESG Bonds ของไทยเปรียบเทียบกับยุโรป
- 5 ปีผ่านไป ตลาดหุ้นกู้เปลี่ยนไปขนาดไหน
- ถ้าผู้ออกหุ้นกู้ถูกฟ้องล้มละลาย ผู้ถือหุ้นกู้ต้องทำอย่างไร
- ลงทุนในหุ้นกู้ต้องรู้จักอันดับเครดิต
- Highlight Q2 2023 "ESG bonds ในอาเซียน+3
- ข้อดี-ข้อเสีย ของการลงทุนในตราสารหนี้...มีอะไรบ้าง
- 5 สิ่งควรรู้ก่อนลงทุนตราสารหนี้
- การออก ESG Bond ของไทย
- Transition bond ตราสารหนี้เปลี่ยนผ่านสู่ความยั่งยืน
- IC Bond ตราสารหนี้เพื่อนับเป็นเงินกองทุนของบริษัทประกันภัย
- สิ่งที่ควรรู้เกี่ยวกับเส้นอัตราผลตอบแทน (Yield curve)
- Basis Points คืออะไร - ต่างจากเปอร์เซ็นต์อย่างไร?
- ลงทุนตราสารหนี้ต้องจ่ายภาษีไหม
- อยากรู้ว่าหุ้นกู้มีการซื้อขายบ้างไหม ราคาซื้อขายเป็นยังไง จะดูได้ที่ไหน
- เช็กราคาซื้อขายล่าสุด หรือราคา mark to market ของหุ้นกู้ได้ที่ไหน
- การซื้อขายหุ้นกู้ในตลาดรอง คำนวณราคายังไง
- ทำไมหุ้นกู้คราวด์ฟันดิงถึงให้ผลตอบแทนสูง ต่างจากหุ้นกู้ปกติอย่างไร
- สัญลักษณ์ตราสารหนี้...อ่านอย่างไรและบอกอะไรบ้าง
- Breakeven Inflation คืออะไร? และ บอกอะไร?
- BOND INFO แหล่งรวมข้อมูลตราสารหนี้ไทย ตอน รู้จักหุ้นกู้กับเมนู “Issuer Search”
- รู้จัก Basel III Bond หุ้นกู้เพื่อนับเป็นเงินกองทุนของธนาคารพาณิชย์
- Baht bond คืออะไร ต่างจากหุ้นกู้ปกติไหม?
- ทางเลือกการลงทุนในยุคเงินเฟ้อสูง...พันธบัตรชดเชยเงินเฟ้อ (Inflation Linked Bond)
- ตราสารหนี้ผลตอบแทนติดลบกำลังจะ “สูญพันธุ์”
- หุ้นกู้ที่เสนอขาย HNW จะขายต่อในตลาดรองให้นักลงทุนบุคคลทั่วไปได้ไหม?
- Prize Bond ตราสารหนี้ลุ้นรับโชค
- อัพเดต! นิยามใหม่ “ผู้ลงทุนรายใหญ่ (High Net Worth)” มีผลบังคับใช้ 1 ต.ค. 2565 นี้
- รัฐบาลอินเดียเตรียมออกพันธบัตรสีเขียวครั้งแรกเพื่อมุ่งสู่สังคมคาร์บอนต่ำอย่างยั่งยืน
- รัฐบาลแคนาดาร่วมขบวนรักษ์โลก...ออกพันธบัตรสีเขียวครั้งแรก
- Blue bond...ตราสารหนี้สีฟ้า..รักษ์ทะเล
- ESG bonds ของไทยใช้เงินหลากหลายและน่าสนใจแค่ไหน?
- Highlight 2021 "ESG bonds ในอาเซียน+3"
- ADB ออก Blue Bond ครั้งแรก...มุ่งสู่สังคมและเศรษฐกิจสีฟ้าอย่างยั่งยืน
- สรุปภาวะตลาด ESG bond ในอาเซียน+3
- Carbon Neutral Bond ตราสารหนี้สีเขียวประเภทใหม่ของจีน
- แนวโน้มการออก ESG bond ของไทย...กับการก้าวสู่เศรษฐกิจและสังคมที่ยั่งยืน
- Perpetual Bond กับลักษณะเฉพาะที่ผู้ออกต้องจ่ายดอกเบี้ยสูง
- โคลอมเบียออก green bond ขายนักลงทุนในประเทศเป็นครั้งแรก
- สเปนเตรียมออก Green bond เป็นครั้งแรก
- Sustainability-Linked Bond รุ่นแรกของไทยมาแล้ว
- ลงทุนในหุ้นกู้ต้องดูเงื่อนไข Covenant
- Big Tech พาเหรดออก ESG bond
- ส่องหุ้นกู้ออกใหม่ครึ่งปีหลัง 2021
- FACTS ตราสารหนี้เพื่อความยั่งยืนใน ASEAN+3
- 5 อันดับรัฐวิสาหกิจที่ออกตราสารหนี้สูงสุด (โดยคลังไม่ต้องค้ำ)
- รัฐบาลแคนาดา เตรียมเสนอขายพันธบัตรสีเขียวเป็นครั้งแรก
- รู้ไหม ใครถือพันธบัตรรัฐบาลไทยบ้าง
- ความแตกต่างของ Green, Social และ Sustainability bond
- รู้จักศัพท์ Bond ที่เกี่ยวกับสัตว์
- ยอดการออก ESG bond ในเอเชีย-แปซิฟิก 5 เดือนแรกปีนี้ โตขึ้น 49.5%
- Amazon.com ไม่ตกขบวนรักษ์โลก ออก Sustainability bond
- ตราสารหนี้เพื่อความยั่งยืนในมาเลเซีย
- ตราสารหนี้ (อนุ) รักษ์แรด
- ความเหมือนที่แตกต่างระหว่างอันดับเครดิตของบริษัท และอันดับเครดิตของหุ้นกู้
- ปี 2564 อังกฤษนับหนึ่งพันธบัตรสีเขียว
- เครื่องมือรักษ์โลกล่าสุด...ตราสารหนี้ส่งเสริมความยั่งยืน (Sustainability-linked Bond: SLB)
- เมื่อสายแฟ (ชั่น) แคร์โลก...Chanel และ Burberry ออก ESG bond
- หุ้นกู้สีเขียวอนุพันธ์...อีกรูปแบบหนึ่งในการรักษ์โลก
- Covid-19 Response Bonds: ตราสารหนี้สู้โควิด
- Bond ETF อีกหนึ่งทางเลือกการลงทุนตราสารหนี้
- มาตรฐานบัญชีใหม่ TFRS 9 กับตราสารหนี้ (ตอนที่ 2)
- Pandemic Bond ภารกิจสู้โรค...กับบทเรียนที่ต้องเรียนรู้
- เชื้อไวรัสโควิดลามจากคนสู่เศรษฐกิจโลก?
- มาตรฐานบัญชีใหม่ TFRS 9 กับตราสารหนี้ (ตอนที่ 1)
- ตราสารหนี้เพื่อสิ่งแวดล้อมและสังคมที่ยั่งยืนในประเทศไทย
- Green bond ในอาเซียน
- เมื่อจีนเป็นหวัด ทั่วโลกเลยต้องรับยา…ทางการเงิน
- ย้อนรอยพันธบัตรทองคำของไทย
- Sovereign Gold Bond พันธบัตรทองคำแห่งชาติ
- Gender bonds ตราสารหนี้เพื่อเพิ่มพูนศักยภาพผู้หญิง
- ผู้แทนผู้ถือหุ้นกู้ The Bodyguard ของนักลงทุน
- Prize Bond ตราสารหนี้สำหรับคนชอบเสี่ยงโชค
- สรุป 10 เหตุการณ์เด่นในตลาดตราสารหนี้ไทยปี 2562
- พันธบัตรรัฐบาล Low risk but high return ในปี 2562
- เหลียวหลังแลหน้า เงินลงทุนจากต่างชาติในตลาดตราสารหนี้ไทย ฉบับปี 2562
- บาดาล The Series ตอนที่ 3/3: กำเนิดบาดาล
- บาดาล The Series ตอนที่ 2/3: ปูมหลัง
- บาดาล The Series ตอนที่ 1/3: ความสำเร็จก้าวแรก
- เขาวานให้(หนู)เป็น...สมาคมตลาดตราสารหนี้ไทย
- เตรียมช้อป หุ้นกู้ ได้ทุกเดือนในปี 2563
- ผลกระทบตลาดตราสารหนี้หลังการเก็บภาษีกองทุน
- High yield bond
- จีน:จากผู้ปล่อยก๊าซเรือนกระจกสูงสุดในโลก สู่ผู้นำการออกตราสารหนี้สีเขียว
- Perpetual bond กับมาตรฐานบัญชีใหม่
- 25 ปี ThaiBMA กับการพัฒนาตลาดตราสารหนี้ไทย
- ตราสารหนี้ฉบับแรกของราชอาณาจักรสยามเพื่อก่อสร้างทางรถไฟสายแรกๆของประเทศ
- 5 ปี ภาคเอกชนระดมทุนผ่านหุ้นกู้กว่าล้านล้าน!!
- Perpetual bond คึกคักส่งท้ายปี 62
- ทวิตเตอร์ “@realDonaldTrump” กระเทือนไปทั้งโลก…การเงิน
- งานนี้ต้องติดตาม...สถานการณ์ผิดนัดชำระหุ้นกู้ในประเทศจีน
- เมื่อเงินทุนไหลออกจากตลาดตราสารหนี้ แต่เงินบาทยังแข็งค่า
- รู้ยัง! Starbucks ก็ออก Sustainability Bond นะ
- Dual Currency Bond ตราสารหนี้สองสกุล
- หุ้นกู้ไม่มีเรทติ้งแต่มีประกัน ปลอดภัยจริงไหม!!
- Bond Yield ติดลบกินวงกว้างแค่ไหน
- Bond yield ไทยจะต่ำไปไหน
- CAT bond: ตราสารหนี้รับมือเหตุภัยพิบัติ
- เรทติ้ง (Rating) มาจากไหนและบอกอะไรแก่นักลงทุน
- มาตรการป้องปรามการเก็งกำไรค่าเงินบาทของ ธปท.และผลต่อตลาดตราสารหนี้ไทย
- จับตา!!! สถานการณ์การผิดนัดชำระหุ้นกู้ประเทศสิงคโปร์
- เข้าใจหุ้นกู้ใน 5 นาทีกับ Fact sheet
- เมื่อดอกเบี้ยสหรัฐฯ เปลี่ยนทิศ แล้วดอกเบี้ยไทยจะอย่างไร?
- การปรับลดวงเงินประมูลพันธบัตรของธปท.และผลต่อตลาดบอนด์
- ครบรอบ 22 ปี วิกฤติต้มยำกุ้ง กับการเติบโตของตลาดตราสารหนี้ไทย
- โอกาสของผู้ระดมทุนในตลาดหุ้นกู้ไทย
- Callable bonds ของไทย คุ้มค่าน่าลงทุน?
- Blue Bond ตราสารหนี้สีฟ้า เพื่อความยั่งยืนของทะเล
- 2-10 Spread สัญญาณคาดการณ์ภาวะเศรษฐกิจ
- 1 ปีแห่งการปรับตัวของผู้ออกตั๋ว BE
- ภาษีกองทุนรวมตราสารหนี้: นักลงทุนจะไปต่อกันทางไหน?
- Payment-In-Kind Bond เมื่อดอกเบี้ยจ่ายเป็นหมูแฮม
- ทำไมอยากซื้อ แต่ไม่ได้ซื้อ?
- Bond Switchingเมื่อถึงเวลาก็ต้อง(แลก)เปลี่ยน
- STO อีกหนึ่งทางเลือกในการระดมทุนด้วยเทคโนโลยี Blockchain
- Structured note ผลตอบแทนที่มาพร้อมความผันผวน
- Composite Bond Index ดัชนีสะท้อนผลตอบแทนการลงทุนในตราสารหนี้ไทย
- ลูกหนี้รายใหญ่ในตลาดตราสารหนี้ไทย
- ภาษีการลงทุนในตราสารหนี้ผ่านกองทุนรวม ผลกระทบต่อนักลงทุน
- Bond Yield ของไทยจะติดเชื้อ Inverted Yield Curve จากสหรัฐฯไหม
- การค้ำประกันจาก CGIF ช่วยผู้ออกลดคูปองดอกเบี้ยให้ต่ำลง
- ถอดบทเรียนจากญี่ปุ่นแล้วย้อนมองไทยการออมเพื่อเตรียมเกษียณ (ตอนที่ 2)
- ถอดบทเรียนจากญี่ปุ่นแล้วย้อนมองไทยการออมเพื่อเตรียมเกษียณ (ตอนที่ 1)
- Puttable Bond ตราสารหนี้ที่ให้สิทธินักลงทุนในการไถ่ถอนก่อนครบกำหนดอายุ
- Bond Yield สหรัฐฯกับไทย...ความสัมพันธ์ที่เปลี่ยนไป
- 10 year challenge ของตลาดตราสารหนี้
- Sustainability bond หุ้นกู้เพื่อความยั่งยืนของสังคมและสิ่งแวดล้อม
- Social Bond พันธบัตรเพื่อสังคมที่เป็นสุข
- สรุป 10 เหตุการณ์สำคัญของตลาดตราสารหนี้ไทยในรอบปี 2561
- D/E Ratio บอกอะไรบ้าง
- เตรียมช้อปหุ้นกู้ออกใหม่ปีหน้า..มีอะไรน่าสนใจ
- เหลียวหลังแลหน้า เงินลงทุนในตราสารหนี้ไทยของต่างชาติ ฉบับปี 2561
- จับตาหุ้นกู้ที่จะครบกำหนดในภาวะดอกเบี้ยขาขึ้น
- BAHT Bond ทางเลือกการระดมทุนในอาเซียน
- จับตาหุ้นกู้ชั่วนิรันดร์ของจีน
- ตลาดตราสารหนี้ไทยเป็น safe haven จริงหรือ
- Solar Bond ตราสารหนี้พลังงานแสงอาทิตย์
- ผลตอบแทนของ Green bond ต่างจากตราสารหนี้ทั่วไปหรือไม่
- ตราสารหนี้สีเขียวกับการเติบโตอย่างยั่งยืน
- การออกหุ้นกู้ของกลุ่มอสังหาริมทรัพย์
- Asian Bonds Online มีดีมากกว่า Fund flow ในตลาดตราสารหนี้
- Perpetual bond หุ้นกู้ไม่มีอายุ
- ใครลงทุนในหุ้นกู้บ้าง
- ซื้อหุ้นกู้แบบมี Call option นักลงทุนจะได้หรือจะเสียอะไร
- การวัด Expected return ของตราสารหนี้
- ฝากเงินไว้กับธนาคาร หรือลงทุนผ่านตราสารหนี้ดีนะ?
- หุ้นกู้ Securitization ทางเลือกเพื่อเพิ่มความมั่นใจในการลงทุน
- ILB ทางเลือกของการลงทุนในภาวะเงินเฟ้อเริ่มขยับขึ้น
- ซื้อกองทุนตราสารหนี้ แต่ทำไมถึงขาดทุนได้?
- มารู้จักTransition Matrix โอกาสการผิดนัดชำระหนี้ของหุ้นกู้
- ลงทุนอย่างอุ่นใจ ด้วยหุ้นกู้มีประกัน
- ถ้าอยากซื้อหุ้นกู้เชิญอ่านทางนี้
- วางแผนเกษียณสุขใจไปกับตราสารหนี้
- การเปลี่ยนแปลงของตลาดตราสารหนี้ภาคเอกชนจากเกณฑ์ใหม่ กลต.
- ระหว่างสลากออมสิน กับตราสารหนี้ออมอย่างไรให้เหมาะกับเรา
- รู้จักกับ AMRO องค์กรความร่วมมือเพื่อความแข็งแกร่งทางเศรษฐกิจของอาเซียน+3
- ความจริง 5 ข้อของตลาดตราสารหนี้ที่นักลงทุนควรทราบ
- สัญลักษณ์ตราสารหนี้บอกอะไรมากกว่าที่คิด
- Credit rating ไม่สูงก็ออกตราสารหนี้ Coupon ต่ำได้ ด้วยการค้ำประกันจาก CGIF
- Bond Yield สหรัฐฯ สูงขึ้น ดึง Bond Yield ไทยสูงขึ้น ด้วยไหม?
- Basel III Bond ตราสารหนี้ที่เพิ่มความมั่นคงให้แก่ธนาคาร
- ติดตามราคาพันธบัตรรัฐบาล ณ วันปัจจุบันได้จากที่ไหนนะ?
- ดัชนีพันธบัตรรัฐบาล
- ดัชนีพันธบัตรรัฐบาลประเภทอัตราดอกเบี้ยแปรผันตามการเปลี่ยนแปลงของเงินเฟ้อ
- สูงหรือต่ำมีความหมายมากกว่าที่คาด
- แนวโน้มของเทคโนโลยี Blockchain ในตลาดตราสารหนี้
- จะสูงหรือต่ำสำคัญอย่างไร
- Credit spread ผู้ช่วยของ Yield curve
- ทิศทางของตลาดตราสารหนี้ไทย
- Yield Curve พระเอกของการลงทุนในตราสารหนี้
- Fund flow ในตลาดตราสารหนี้
- จับตาการลงทุนของต่างชาติในตลาดบอนด์
- Perpetual Bond พิเศษยังไง ทำไมจ่ายดอกเบี้ยสูงจัง
- ตราสารหนี้บางรุ่นเลื่อนชำระดอกเบี้ยได้นะจ๊ะ
- มูลค่าการซื้อขายตราสารหนี้ หาได้จากไหน?
- ปลายปีอย่างนี้ เป็นจังหวะดีของการลงทุนในตราสารหนี้ไหมนะ
- ความเข้าใจผิดที่อันตราย “ตราสารหนี้เสี่ยงกว่าหุ้น”
- Financial Literacy ของไทย
- อันดับเครดิตต่ำหรือสูง แล้วยังไง
- มีเงิน 5,000 บาท ลงทุนหุ้นกู้ได้ไหมนะ?
- หุ้นกู้แปลงสภาพ เจ้าหนี้ที่กลายร่างเป็นเจ้าของได้ (ตอนที่ 2)
- สมาคมตลาดตราสารหนี้ไทย (ThaiBMA)คือใคร ทำอะไรกัน?
- อะไรคือหุ้นกู้แปลงสภาพ (Convertible Bond) (ตอนที่ 1)
- เลือกตราสารหนี้ให้เหมือนเลือกแฟน
- “สั้น” หรือ “ยาว” อะไรเร้าใจกว่ากัน (ตอนที่ 2)
- แม้ดอกเบี้ยจะขาขึ้น ก็ไม่หวั่นลงทุนตราสารหนี้
- “สั้น” หรือ “ยาว” อะไรเร้าใจกว่ากัน (ตอนที่ 1)
- Cross Default ในตราสารหนี้
- "หุ้นกู้มีประกัน" เครื่องหมายรับประกันเงินต้นหาย?
- รู้หรือไม่ พันธบัตรไทยฉบับแรกออกมาเมื่อใด
- เม็ดเงินต่างชาติในตราสารหนี้ทำบาทแข็งจริงหรือ?
- กองทุน AI
- ความเสี่ยงหลัก 5 ข้อในการลงทุนตราสารหนี้
- หุ้นกู้ High Yield ลงทุนอย่างไรให้ปลอดภัย
- แฝดคนละฝา Default กับ NPL
- 5 เหตุผลหลักของการลงทุนในตราสารหนี้
- 20 ปี วิกฤตต้มยำกุ้ง พลิกสู่การเติบโตของตลาดตราสารหนี้ไทย
- จะซื้อหุ้นกู้ ต้องดู Credit Spread ( ตอนที่ 2)
- Callable คุณลักษณะพิเศษอย่างหนึ่งของ Bond
- จะซื้อหุ้นกู้ ต้องดู Credit Spread ( ตอนที่ 1)
- ตราสารหนี้ฉบับแรกเกิดขึ้นเมื่อไร?
- Yield Curve ตัวช่วยการลงทุนตราสารหนี้
- เมื่ออัตราดอกเบี้ยผันเปลี่ยน มูลค่าของตราสารหนี้ก็ผันแปร
- Coupon&Yield คู่ซี้ที่แตกต่าง
- หุ้นกู้ vs. หุ้น
- สนใจลงทุนตราสารหนี้ ต้องทำอย่างไร
- ลำดับการชำระหนี้คืน
- อันดับความน่าเชื่อถือ (Credit Rating)
- Ultra High Net Worth กลุ่มนักลงทุนใหม่ ขาใหญ่ในตลาดตราสารหนี้ไทย
- ตราสารหนี้สีเขียว (Green Bond)
- สิทธิแฝงของตราสารหนี้ (Embedded Option)
- ตราสารหนี้ที่ออกโดยหน่วยงานเอกชน
- ตราสารหนี้ที่ออกโดยองค์กรภาครัฐและรัฐวิสาหกิจ
- ตราสารหนี้ที่ออกโดยกระทรวงการคลัง
- พันธบัตรชดเชยเงินเฟ้อ (ILB) ตอนนี้น่าลงทุนไหม?
- Intro to Bond
- พันธบัตรชดเชยเงินเฟ้อ....เงินต้นไม่หาย แถมงอกเงยไม่น้อยหน้าเงินเฟ้อ
- ความอ่อนไหวของเงินทุนจากต่างชาติในตลาดตราสารหนี้ไทย
- ทำความรู้จักกับหลักเกณฑ์ Basel III และผลกระทบต่อตลาดตราสารหนี้
- ตลาดตราสารหนี้ไทยเติบโตรับกระแสเงินทุนไหลเข้าในครึ่งปีแรก 2559
- การลงทุนตราสารหนี้ แม้จะปลอดภัย ถ้าไม่เข้าใจ...ก็ขาดทุนได้
- การลงทุนในกองทุนตราสารหนี้...ทางเลือกการลงทุนที่ปลอดภัย (ความผันผวนต่ำ)
- หุ้นกู้ด้อยสิทธิ
- รู้จักกับ Perpetual Bond
- ตราสารหนี้ระยะยาวภาคเอกชน
- ตราสารหนี้ภาคเอกชนระยะสั้น (Commercial Paper)
- Infrastructure Fund vs. Infrastructure Bond
- เงินทุนต่างชาติไหลกลับสู่ตลาดตราสารหนี้ไทย
- นิยาม “ตราสารหนี้” แบบเข้าใจง่าย
- "หุ้น" กับ "หุ้นกู้" แฝดคนละฝา
- ตราสารหนี้ภาคเอกชนไทยเติบโตอย่างมั่นคง (1)
- ตราสารหนี้ภาคเอกชนไทยเติบโตอย่างมั่นคง (2)